Journal of Social Sciences
Publication Date
2015-01-01
Abstract
การสืบทอดอำนาจทางการเมืองจากรุ่นสู่รุ่นในวงสัตระภูลผู้นำทางการเมืองหรือการสถาปนา “ตระคูล นักการเมือง” นั้น เป็นปรากฏการณ์ที่สามารถพบเห็นไดในแทบทุกสังคมการเมือง บทความนี้มุ่งค้นหาคำตอบ ว่าการเป็นสมาซิกในตระภูลนักการเมืองทำให้ทายาทของตระภูลนักการเมืองมีโอกาสที่ดีในการได้รับการเสือกตั้ง เป็นสมาซิกสภาผู้แทนราษฎรหรือไม่ อย่างไร อาศัยการวิเคราะห์ข้อยูลสมาซิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตที่ได้รับการเสือกตั้งเมือวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 เฉพาะสมาซิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้รับการเลือกตั้งเข้ามาเป็น ครั้งแรก หรือที่บทความนี้เรียกว่า สมาซิกสภาผู้แทนราษฎร “หนำใหม่” โดยอาศัยวิธีการทางสถิติ ได้แก่ การวิเคราะห์เปรยบเทียบค่าเฉลี่ย (00๓กลโ6 ๓©ลก) และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรครั้งละหลายๆ ตัว (๓ฟใ!Vลโเลใ© ลกลเVร15) บทความนี้ค้นพบว่าสมาซิกสภาผู้แทนราษฎรหนำใหม่ที่เป็นทายาทของตระถูลเ นักการเมืองได้รับการเสือกตั้งเข้ามาด้วยคะแนนนิยมโดยเฉลี่ยสูงกว่าสมาซิกสภาผู้แทนราษฎรหนำใหม่ที่ไม่มี สายสัมพันธ์แบบตระภูลนักการเมือง นอกจากนี้การเป็นสมาซิกในตระคูลนักการเมืองยังเป็นปัจจัยที่มีผล ต่อการได้รับคะแนนและสัดส่วนคะแนนที่สูงของสมาซิกสภาผู้แทนราษฎรเคียงคู่กับปัจจัยอื่นๆ ได้แก่ พรรคการเมืองที,สังกัด และพื้นที่ที่ลงสมัคร สะท้อนให้เห็นว่าการเป็นสมาซิกในตระภูลนักการเมืองนั้นยังมี ความสำคัญต่อชัยชนะในการเสือกตั้งของนักการเมืองไทยอยู่ โดยเฉพาะสำหรับนักการเมืองที่เป็นทายาทของ ตระคูลนักการเมือง ถึงแม้ว่าจะมิใช่ปัจจัยเดียวและไม่ใช่ปัจจัยที่สำคัญที่สุดก็ตาม
First Page
49
Last Page
74
Recommended Citation
ธนานิธิโชติ, สติธร
(2015)
"ความได้เปรียบในสนามเลือกตั้งของทายาทตระกูล นักการเมือง Advantages of dynastic candidates in an election,"
Journal of Social Sciences: Vol. 45:
Iss.
2, Article 4.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/cujss/vol45/iss2/4