•  
  •  
 

Chulalongkorn University Dental Journal

Publication Date

2013-01-01

Abstract

การเกิดฟันเชื่อมติดกันมีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อย แต่ฟันเชื่อมติดกันนี้จะมีลักษณะทางกายวิภาคที่ซับซ้อน จึงทําให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคปริทันต์อักเสบและเนื้อเยื่อในตายได้ ดังนั้นการตรวจรักษาจึงต้องทําอย่างระมัดระวังรายงานผู้ป่วยนี้นําเสนอแนวทางการรักษาฟันเชื่อมติดกันระหว่างฟันกรามบนแท้ซี่ที่หนึ่งด้านขวากับฟันเกินด้วยวิธีทางศาสตร์คลองรากฟันร่วมกับปริทันตศาสตร์ โดยเมื่อกรอทางเปิดสู่โพรงเนื้อเยื่อในตัวฟันแล้วพบว่าทั้งโพรง เนื้อเยื่อในตัวฟันและคลองรากฟันของฟันกรามบนแท้ซี่ที่หนึ่งด้านขวากับฟันเกินมีการเชื่อมติดกัน ภายหลังจาก การรักษาคลองรากฟันแบบไม่ใช้ศัลยกรรมได้ผนึกร่องบริเวณรากฟันที่เชื่อมติดกันด้วยวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์จากการติดตามผลหลังการรักษาเป็นเวลา 1 ปี แสดงให้เห็นถึงการหายของเนื้อเยื่อรอบปลายรากฟันและเนื้อเยื่อเหงือกมีสุขภาพดี (ว ทันต จุฬาฯ 2556;36:49-58)

DOI

10.58837/CHULA.CUDJ.36.1.6

First Page

49

Last Page

58

Included in

Dentistry Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.