Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การตระหนักในตนเองและการรับรู้สาเหตุ

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

Self-awareness and attribution of causality

Year (A.D.)

1991

Document Type

Thesis

First Advisor

โยธิน ศันสนยุทธ

Faculty/College

Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)

Degree Name

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree Level

ปริญญาโท

Degree Discipline

จิตวิทยาสังคม

DOI

10.58837/CHULA.THE.1991.786

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการตระหนักในตนเอง ความพึงพอใจในผลกรรม และการรับรู้สาเหตุ เครื่องมือทีใช้นการวิจัยครั้งนี้คือมาตรย่อยวัดความรู้ตัวส่วนบุคคลของ Fenigstein, Buss และ Scheier และแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานการณ์สมมุติ ซึ่งดัดแปลงจากงานวิจัยของ Duval และ Wicklund ผลการวิจัยพบว่า 1. การรับรู้สาเหตุเข้าสู่ตนเองเมื่อได้รับผลกรรมทางบวกจะมีมากกว่าเมื่อได้รับผลกรรมทางลบอย่างมีนัยสำคัญ ทั้งในกลุ่มที่มีการตระหนักในตนเองสูงและกลุ่มที่มีการตระหนักในตนเองต่ำ (P < .05) 2. กลุ่มที่มีการตระหนักในตนเองสูงรับรู้สาเหตุ เข้าสู่ตนเองมากกว่ากลุ่มที่ตระหนักในตนเองต่ำอย่างมีนัยสำคัญ (P< .05)

Share

COinS