Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

L'etude des didascalies dans trois pieces d'Ionesco : La Cantatrice Chauve, Les Chaises, Rhinoceros

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

การศึกษาคำอธิบายประกอบการแสดงในบทละครเรื่อง ลา กองตาทริซ โชฟ เลส์ แชสส์ และ ริโนเซรอส ของ อิโยเนสโก

Year (A.D.)

1995

Document Type

Thesis

First Advisor

Paniti Hoonswaeng

Faculty/College

Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)

Degree Name

Master of Arts

Degree Level

Master's Degree

Degree Discipline

French

DOI

10.58837/CHULA.THE.1995.1050

Abstract

Le texte de theatre se compose de deux grandes couches: le dialogue et les didascalies ou les indications sceniques. Dans le dialogue ce sont les personnages qui parlent, tandis que dans les didascalies cest la voix de lauteur qui attribue à chaque personnage son discours et sa situation. En general, on sinteresse plus aux répliques des personnages qu aux indications scéniques. Pourtant les auteurs contemporains comme Ionesco accordent une place importante aux didascalies. Ionesco déclare que "mon theatre nest pas seulement un dialogue mais il est aussi les indications scéniques". Cette recherche est consacree à letude de la structure du texte didascalique et de son role dans la determination de lespace, du temps, de lobjet, de la gestuelle et du bruitage. Ces elements refletent la realite des personnages et la vision du monde de lauteur. Pour cette etude, trois pieces representatives d'Ionesco ont ete choisies comme corpus: La Cantatrice chauve, Les Chaises, Rhinoceros. Nous verrons que les didascalies dans le theatre d’Ionesco ne sont pas moins importantes que le dialogue, mais que les deux couches sont complementaires. Les didascalies ne servent pas seulement à souligner le dialogue, mais elles peuvent aussi l'alterer, le contredire, ou meme le remplacer. Le texte didascalique vise à construire le contexte du dialogue et à eclairer la situation, les motivations des personnages et le sens du discours theatral.

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

บทละครแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่คือบทเจรจา และคำอธิบายประกอบการแสดงบทเจรจาเป็นถ้อยคำของตัวละคร ส่วนคำอธิบายประกอบการแสดงเป็นถ้อยคำของผู้เขียน เพื่อกำหนดบริบทของบทเจรจาได้แก่ ผู้พูด คู่สนทนา และองค์ประกอบต่างๆ ของสถานการณ์ ตามปรกติ เรามักให้ความสำคัญแก่บทเจรจามากกว่า โดยมองข้ามความสำคัญของคำอธิบายประกอบการแสดงไป อย่างไรก็ตามนักแต่งบทละครร่วมสมัยโดยเฉพาะอิโยเนสโกให้ความสำคัญ แก่คำอธิบายประกอบการแสดงเป็นอย่างมาก เขากล่าวว่าบทละครของเขาไม่ได้ประกอบด้วยบทเจรจาเท่านั้น แต่ยังมีคำอธิบายประกอบการแสดงด้วย งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาเฉพาะคำอธิบายประกอบการแสดงโดยการวิเคราะห์โครงสร้างของคำอธิบายประกอบการแสดง พร้อมทั้งศึกษาบทบาทของคำอธิบายประกอบการแสดงที่มีส่วนกำหนดบริบททั้งในด้านสถานที่ เวลา วัตถุ การแสดงออกด้วยท่าทาง และเสียงประกอบการแสดง ซึ่งช่วยให้เข้าใจตัวละครและโลกทัศน์ของอิโยเนสโก โดยเลือกศึกษาคำอธิบายประกอบการ แสดงของบทละครสามเรื่องคือ ลา กองตาทริช โชฟ เลส์ แชสส์ และ ริโนเชรอส จากการศึกษานี้พบว่า คำอธิบายประกอบการแสดงมีส่วนสำคัญไม่น้อยไปกว่าบทเจรจา บทเจรจาและคำอธิบายประกอบการแสดงเป็นส่วนเติมเติมซึ่งกันและกัน เพราะคำอธิบายประกอบ การแสดงสามารถขยายความ เสริม เน้นบทเจรจา จนอาจแปรเปลี่ยน ขัดแย้ง และบางครั้ง ก็สามารถแทนที่บทเจรจาได้ด้วย ดังนั้นคำอธิบายประกอบการแสดงจึงมีส่วนช่วยให้เข้าใจ บทเจรจา และตีความบทเจรจาได้ถูกต้องยิ่งขึ้น

ISBN

9746314289

Share

COinS