Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Development of alumina-supported platinum catalyst for carbonmonoxide and hydrocarbon oxidation

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัมบนตัวรองรับอะลูมินา สำหรับปฏิกิริยาออกซิเดชันของคาร์บอนมอนอกไซด์และไฮโดรคาร์บอน

Year (A.D.)

1996

Document Type

Thesis

First Advisor

Piyasan Praserthdam

Second Advisor

Suphot Phatanasri

Faculty/College

Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)

Degree Name

Master of Engineering

Degree Level

Master's Degree

Degree Discipline

Chemical Engineering

DOI

10.58837/CHULA.THE.1996.2153

Abstract

The objective of this study is to enhance the performance of platinum supported on gamma-alumina catalysts for CO and propane abatement by replacing calcination step with catalyst pretreatment in exhaust gas technique. The experiments were carried out in a quartz tube reactor with inside diameter of 0.6 cm in the temperature range of 150-700 ℃. The feed gas composition comprised 0.05 vol.%NO, 0.3 vol.%CO, 0.215 vol.% propane and 0.5-5 vol.% oxygen at gas hourly space velocity of 15,000 h-1. It was found that the temperatures for the 50% conversion (light-off temperature) of CO and propane were reduced by 15% and 20%, respectively. The suitable condition for the pretreatment of catalyst prepared from platinum tetrammine dichloride [Pt(NH3)4Cl2] precursor was the condition under rich condition (S=0.8) in the temperature range of 300-600 ℃. It was also found that the platinum supported on alumina and washcoat monolithic catalyst reached the maximum NO conversion of 80% at 500-700 ℃. When the pretreated catalyst was adopted, the light-off temperature for 50% NO conversion was reduced by 15%.

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อเพิ่มสมรรถนะการทำงานของตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัมที่รองรับบนตัวรองรับแกมมาอะลูมินาโดยใช้วิธีการปรับสภาพก่อนการใช้งานภายใต้บรรยากาศแก๊สเสียแทนวิธีการเผาเหลือเถ้า ได้ทำการทดลองภายในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็ก ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 0.6 เซนติเมตร ช่วงอุณหภูมิที่ทำการศึกษา 150-700 องศาเซลเซียส องค์ประกอบของแก๊สเสียจำลองประกอบด้วย แก๊สไนตริกออกไซด์ 0.05 เปอร์เซ็นต์, แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ 0.3 เปอร์เซ็นต์, แก๊สโพรเพน 0.215 เปอร์เซ็นต์ และแก๊สออกซิเจน 0.5-5 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร ที่ความเร็วเชิงสเปซ 15,000 ชม.-1 พบว่าอุณหภูมิที่ให้ค่าการเปลี่ยนที่ 50 เปอร์เซ็นต์ของแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์และแก๊สโพรเพน มีค่าลดลง 15 เปอร์เซ็นต์ และ 20 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ได้พบอีกว่าภาวะที่เหมาะสมในการปรับสภาพก่อนการใช้งาน คือภายใต้บรรยากาศแก๊สเสียที่มีอัตราส่วนผสมค่อนข้างหนา (S=0.8) และที่ช่วงอุณหภูมิ 300-600 องศาเซลเซียส รวมทั้งพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัมที่รองรับอยู่ทั้งบนตัวรองรับอะลูมินาและบนโมโนลิธ มีค่าการเปลี่ยนไปของแก๊สไนตริกออกไซด์สูงสุด 80 เปอร์เซ็นต์ที่ช่วงอุณหภูมิ 500-700 องศาเซลเซียส โดยมีค่าอุณหภูมิที่ให้ค่าการเปลี่ยนที่ 50 เปอร์เซ็นต์ของแก๊สไนตริกออกไซด์ลดลง 15 เปอร์เซ็นต์

Share

COinS