Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
A comparative study of adverbs "JIU" and "CAI" in Mandarin Chinese and their Thai equivalents
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
การศึกษาเปรียบเทียบคำวิเศษณ์ "JIU" และ "CAI" ในภาษาจีนกลางกับคำภาษาไทยในลักษณะเดียวกัน
Year (A.D.)
2007
Document Type
Thesis
First Advisor
Suree Choonharuangdej
Second Advisor
Peng, Zongping
Faculty/College
Faculty of Arts (คณะอักษรศาสตร์)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's Degree
Degree Discipline
Chinese as a Foreign Language
DOI
10.58837/CHULA.THE.2007.1927
Abstract
本文研究的目的是,對現代漢語副詞“就"和“才"與泰語相對應的詞語進行全面、細緻的調查、分析與對比,以便使泰國的漢語學習者能夠瞭解和把握“就"和“才"的語義特點和使用規則。本文在歸納整理一定量的語料的基礎上將現代漢語副詞“就"和“才"與泰語相對應的詞語進行了對比,以便總結出其在語義、結構及語用方面的特點與異同。本文發現“就"除了可翻譯成泰語ก็ [kɔː] 之外,還可以翻譯成เดี๋ยวนี้ / ทันที [diau niː / tʰan tʰiː]、ใกล้จะ/ จวนจะ [klai ca / cuan ca] 、 เพียง/แค่/แต่ [pʰiaŋ/ kʰɛ/ tɛː] 和ไม่ว่าอย่างไรก็ [mai waː jaːŋ rai kɔː];而“才"除了翻譯成จึง[cɯŋ]、ถึงจะ [tʰɯŋ ca] 之外, 還可以翻譯成เพิ่งจะ [pʰəːŋ ca] 、เพียง/แค่/แต่ [pʰiaŋ/ kʰɛ/ tɛː] 和ไม่มีวัน[mai miː wan]。此外,本文在對泰國大学生調查問卷分析研究的基礎上,歸納出他們的使用情況並總結了出現偏誤的原因,以幫助漢語教師瞭解其“就"和“才"的習得情況,並提出教學排序之建議。關於泰國大學生使用“就"和“才"時出現偏誤的原因,本文提出:(1) 學生在語義、結構或語用方面沒有掌握漢語規則 (2) 學生受到母語的干擾(泰語)。對於針對泰國大學生的現代漢語副詞“就"和“才"之教學語法,本文认为,應按學生的偏誤率來排序,即,先教發現錯誤少的語義項目,後教發現錯誤多的語義項目。
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบคำวิเศษณ์ “JIU" และ “CAI" ในภาษาจีนกลางกับคำภาษาไทยในลักษณะเดียวกัน เพื่อให้ผู้เรียนชาวไทยเข้าใจและสามารถใช้คำวิเศษณ์ “JIU" และ “CAI" ได้อย่างถูกต้อง เมื่อนำคำวิเศษณ์ “JIU" และ “CAI" ที่ได้รวบรวมและเก็บตัวอย่างจากคลังข้อมูลทางภาษามาศึกษาเปรียบเทียบกับคำภาษาไทย เพื่อวิเคราะห์ความเหมือนและความต่างในแง่โครงสร้างและการใช้ พบว่า คำวิเศษณ์“JIU" นอกจากจะสามารถแปลว่า “ก็" แล้ว ยังสามารถแปลว่า “เดี๋ยวนี้ / ทันที", “ใกล้จะ/ จวนจะ", “เพียง/แค่/แต่" และ “ไม่ว่าอย่างไรก็" ส่วนคำวิเศษณ์ “CAI" นอกจากจะสามารถแปลว่า “ จึง" หรือ“ ถึงจะ" แล้ว ยังสามารถแปลว่า“ เพิ่งจะ", “เพียง/แค่/แต่" และ “ไม่มีวัน" นอกจากนี้ งานวิจัยนี้ยังได้จัดทำแบบสอบถาม เพื่อใช้วิเคราะห์และศึกษาสาเหตุของ ข้อผิดพลาดของผู้เรียนชาวไทยในการใช้คำวิเศษณ์“JIU" และ “CAI" เพื่อช่วยให้ผู้สอนภาษาจีนเข้าใจสถานการณ์และข้อผิดพลาดในการใช้คำทั้งสองของผู้เรียน พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางการจัดลำดับการสอน จากการศึกษาพบว่า ข้อผิดพลาดในการใช้คำวิเศษณ์ “JIU" และ “CAI" ของผู้เรียนชาวไทยนั้นเป็นผลมาจาก (๑) ผู้เรียนไม่เข้าใจหลักเกณฑ์ทางความหมาย โครงสร้างไวยากรณ์และการใช้ของ “JIU" และ “CAI" อย่างถ่องแท้ (๒) ผู้เรียนได้รับอิทธิพลจากภาษาแม่ (ภาษาไทย) ดังนั้นจึงได้อาศัยสถิติข้อผิดพลาดในการใช้คำวิเศษณ์ “JIU" และ “CAI" ของผู้เรียนชาวไทยมาเป็นแนวทางในการจัดลำดับการสอน โดยเสนอให้สอนโครงสร้างที่มีข้อผิดพลาดในการใช้น้อยก่อน แล้วจึงสอนโครงสร้างที่มีข้อผิดพลาดในการใช้สูง
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Wichaiprasertsri, Jaranya, "A comparative study of adverbs "JIU" and "CAI" in Mandarin Chinese and their Thai equivalents" (2007). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 24604.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/24604