Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Pedagogical grammar of Chinese pivotal sentences for Thai university students
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
ไวยากรณ์เพื่อการสอนประโยคโครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ ในภาษาจีนกลางให้แก่นักศึกษาไทย
Year (A.D.)
2007
Document Type
Thesis
First Advisor
Sasarux Petcherdchoo
Faculty/College
Faculty of Arts (คณะอักษรศาสตร์)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's Degree
Degree Discipline
Chinese
DOI
10.58837/CHULA.THE.2007.1920
Abstract
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ ในภาษาจีนกลางกับคำภาษาไทยในลักษณะเดียวกัน เพื่อให้นักศึกษาไทยเข้าใจและสามารถใช้โครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ได้อย่างถูกต้อง และเพื่อให้อาจารย์ผู้สอนภาษาจีนกลางเข้าใจสถานการณ์และสาเหตุของข้อผิดพลาดของนักศึกษาไทยในการใช้โครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ นอกจากนี้ยังเสนอแนวทางการสอนโครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ ให้แก่นักศึกษาไทยอีกด้วย ผลการวิจัยพบว่า ในด้านโครงสร้างทางไวยากรณ์ ภาษาจีนกลางและภาษาไทยมีโครงสร้างทางไวยากรณ์ที่คล้ายกัน เช่น โครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ในจีนและไทยมีโครงสร้างดังนี้ “ประธาน + กริยา + กรรม + กริยา เป็นต้น นอกจากนี้โครงสร้างทางไวยากรณ์ที่แตกต่างกันคือส่วนขยาย เช่น ภาษาจีนกลางสามารถวางคำปฏิเสธไว้หน้ากริยาตัวแรก แต่ภาษาไทยสามารถวางคำปฏิเสธไว้ได้ทั้งข้างหน้ากริยาแรก และกริยาที่สอง เป็นต้น ส่วนในด้านความหมาย ภาษาจีนกลางและภาษาไทยสามารถหาคำเทียบเคียงกับกริยาหลักของโครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ได้เช่น เพื่อแสดงความหมายสั่งให้กระทำ เพื่อแสดงความหมายขอร้อง เพื่อแสดงความหมายเชื้อเชิญ เพื่อแสดงความหมายให้อนุญาต และเพื่อแสดงความหมายเป็นฝ่ายถูกกระทำเป็นต้น สาเหตุของข้อผิดพลาดของนักศึกษาไทยในการใช้โครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ได้แก่ (1)กระบวนการเรียนรู้โครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ของนักศึกษาไทยไม่ถูกต้อง (2) การศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ในภาษาจีนกลางและภาษาไทยไม่ถูกต้อง (3) กฎเกณฑ์การใช้โครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ยุ่งยาก สำหรับแนวทางการสอนประโยคโครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ให้แก่นักศึกษาไทยนั้น ได้กำหนดโดยอาศัยสถิติที่เกิดข้อผิดพลาดมาจัดลำดับการสอน โครงสร้างไวยกรณ์หรือความหมายที่มีข้อผิดพลาดในการใช้น้อยควรสอนในลำดับแรก จากนั้นควรเป็นโครงสร้างไวยกรณ์หรือความหมายที่มีข้อผิดพลาดในการใช้สูง
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
本研究目的是對現代漢語兼語句和相應的泰語詞語進行對比研究,以便使泰國大學生能夠確切地了解和掌握漢語兼語句的使用規則。此外,使漢語教師能夠了解泰國大學生對漢語兼語句的使用情形和偏誤原因。本文的重要目的是將漢泰兼語句裏的主要動詞的對比分析結果和測試結果應用於針對泰國大學生的現代漢語兼語句在語法結構和語義功能之教學語法。本研究的對比分析結果發現,在語法結構方面漢泰都有相同的的結構,例如:漢泰都使用「NP1 + V1 + NP2 + V2」的語法格式構成兼語句。但不同的結構都屬於附加成分,例如:漢語只能把否定副詞放在V1之前, 但泰語可以把否定副詞放V1或V2之前等。在語義功能方面,漢泰都有相對應的語義,即表支使、表請求、表邀請、表容許與表致使。關於泰國大學生使用漢語兼語句時出現偏誤的原因是(1) 學生在習得漢語過程中所形成的現象不正確 (2) 學生在對比分析過程所得到的結果不正確 (3) 漢語兼語句本身存在著一些特點造成學生在學習或使用過程中産生的錯誤。對於針對泰國大學生的現代漢語兼語句之教學,本文按偏誤率合計來排序,即應該先教的是錯誤較少的;然後再教錯誤較多的。
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Mongkhonlarpcharoen, Duangkamon, "Pedagogical grammar of Chinese pivotal sentences for Thai university students" (2007). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 24597.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/24597