Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Etude des adjecties dans deux romans de daniel pennac : Au bonheur des ogres et la petite marchande de prose

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

การศึกษาการใช้คุณศัพท์ในนวนิยายของดาเนียล เปนัก เรื่อง โอ บอนเนอร์ เด ซอกร์ และ ลา เปอติต มาร์ชองด์ เดอ โพรส

Year (A.D.)

2006

Document Type

Thesis

First Advisor

Poinkramme Paneburana

Second Advisor

Patcharin Jeatsadangkul

Faculty/College

Faculty of Arts (คณะอักษรศาสตร์)

Degree Name

Master of Arts

Degree Level

Master's Degree

Degree Discipline

French

DOI

10.58837/CHULA.THE.2006.2019

Abstract

Le dessein de notre etude consiste a effecture l'analyse des adijectifs dans les deux romans de Daniel Pennac sous les angles different : morphologie, syntaxe et stylistique. En premier lieu, nous nous appliquons a elaborer la description des faits morphologiques des adjectifs en mettant l'accent sur leur formation qui constitue une base necessaire pour l'elaboration des differentes sous-categories des adjectifs. Ensuite, notre etude s'attache a etudier les rapports syntaxiques que l'adjectif entretient avec les autres parties du discours. Le resultat de l'etude descriptive d'ordre morphologique et syntaxique a montre' d'une maniere contestable que l'auteur de ces deux romans emploie la cate'gorie adjectivale dans sa plus grande variete. En dernier lieu, notre etude s’interesse aux choix stylistiques des adjectifs dans le but de cerner le caractere personnel dans l'usage des adjectifs chez Daniel Pennac et par la nous tachons de montrer leurs valeurs esthetiques.

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

งานวิจัยเรื่องนี้มุ่งศึกษาวิเคราะห์คำคุณศัพท์ ในนวนิยายสองเรื่องข้างต้นของดาเนียล เปนัก ในด้านวจี วิภาค วากยสัมพันธ์ และวัจนลีลา เนื้อหาของงานวิจัยแบ่งออกเป็นสามส่วน ในส่วนแรก ศึกษาวิเคราะห์ในเชิงบรรยายเกี่ยวกับลักษณะของศัพท์ทางด้านวจีวิภาค โดยเน้นกระบวนการสร้างคำคุณศัพท์โดยวิธีต่างๆ ทั้งนี้เพราะเป็นพื้นฐานสำคัญในการจำแนกประเภทย่อยของคำคุณศัพท์ที่ปรากฏในนวนิยายสองเรื่องดังกล่าว ส่วนที่สองของงานวิจัยนี้ ศึกษาคำคุณศัพท์ ในเชิงบรรยายเกี่ยวกับลักษณะความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างที่เชื่อมโยงคำศัพท์เข้ากับหน่วยคำอื่น ๆ ผลการวิจัยเชิงบรรยายในสองข้อข้างต้นชี้ให้เห็นชัดเจนว่า การใช้คำคุณศัพท์ในนวนิยายทั้งสองเรื่อง มีความหลากหลายอย่างยิ่ง ส่วนที่สามของงานวิจัย ศึกษาวิเคราะห์คำคุณศัพท์ในเชิงวัจนลีลาเพื่อค้นหาลักษณะเด่นเฉพาะตนในการใช้คำคุณศัพท์ของดาเนียล เปนัก ซึ่งมีผลต่อการสร้างอรรถรสและเชิดชูคุณค่าทางวรรณศิลป์ของ นวนิยายทั้งสองเรื่องข้างต้น.

Share

COinS