Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
การศึกษาและออกแบบเครื่องแยกอนุภาคโดยแรงโน้มถ่วงของโลก
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
Study and design of a gravitational settling chamber
Year (A.D.)
1998
Document Type
Thesis
First Advisor
สมศรี จงรุ่งเรือง
Faculty/College
Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)
Degree Name
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Discipline
วิศวกรรมเครื่องกล
DOI
10.58837/CHULA.THE.1998.851
Abstract
จุดม่งหมายของวิทยานิพนธ์นี้เพื่อศึกษาและออกแบบเครื่องแยกอนุภาคโดยแรงโน้มถ่วงเพื่อลดปริมาณอนุภาคใน แก๊สไอเสียและเปรียบเทียบผลการทดลองกับทฤษฎี ในการศึกษาจะออกแบบเครื่องแยกอนุภาคโดยแรงโน้มถ่วงให้สามารถเปลี่ยนชุดถาดดักอนุภาคได้ 3 แบบ คือ จำนวนถาด 25 ชั้น, 20 ชั้น และ 15 ชั้น ถาดดักอนุภาคแต่ละชุดมีขนาดกว้าง 0.20 เมตร, ยาว 1.00 เมตร และสูง 0.50 เมตร ผลจากการศึกษาสรุปได้ว่าจำนวนชั้นของถาดที่วางในแนวนอนและความเร็วของแก๊สไอเสียมีผลต่อประสิทธิ์ ภาพของเครื่องแยกอนุภาคโดยแรงโน้มถ่วง ส่วนความดันสูญเสียในเครื่องแยกอนุภาคโดยแรงโน้มถ่วงมีค่าต่ำกว่า 1 มิลลิเมตร น้ำ เมื่อความเร็วของแก๊สไอเสียมีค่า 18.08 เมตรต่อวินาที ประสิทธิ์ภาพการดักเก็บอนุภาคที่คำนวณจากการกระจายขนาดอนุภาคด้วยเครื่อง “MASTERS1ZER" จะมีค่าเท่ากับ 39.85, 48.19 และ 50.01 เปอร์เซ็นต์ สำหรับถาด 15 ชั้น, 20 ชั้น และ 25 ชั้นตามลำดับ ดังนั้นการเพิ่มจำนวนถาดทำให้ประสิทธิ์ภาพการเก็บอนุภาคเพิ่มขึ้น เมื่อใช้ถาด 25 ชั้น ประสิทธิ์ภาพการเก็บ อนุภาคเท่ากับ 46.36, 45.16 และ 43.29 เปอร์เซ็นต์ สำหรับความเร็วแก๊สไอเสีย 19.81, 21.40 และ 22.87 เมตรต่อวินาทีตาม ลำดับ ดังนั้นการเพิ่มความเร็วของแก๊สไอเสียทำให้ประสิทธิ์ภาพการเก็บอนุภาคลดลง ส่วนอุณหภูมิที่ลดลงในเครื่องแยกอนุภาคโดยแรงโน้มถ่วงมีผลต่อประสิทธิ์ภาพการดักเก็บอนุภาคเล็กน้อยโดยทำให้ประสิทธิ์ภาพสูงขึ้นเฉลี่ย 0.52 เปอร์เซ็นต์ จากการวิเคราะห์ประสิทธิ์ภาพของเครื่องด้วยการวิเคราะห์การกระจายอนุภาคด้วยเครื่อง “MASTERSIZER" ปรากฎว่าผลการทดลองมีค่าคลาดเคลื่อนกับค่าที่คำนวณได้จากทางทฤษฎีอยู่ในช่วง 8.6 ถึง 32.1 เปอร์เซ็นต์
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
The purpose of this thesis is to study and design a gravitational settling chamber for particulate reduction in flue gas and to compare the experimental results with the theoretical ones. In this study, the gravitational settling chamber was designed for changeable three types of set of trays, i.e., 25, 20 and 15 shelves. The dimension of each set of trays is 0.20 m. wide, 1.00 m. long and 0.50 m. high. Results from the research work can be concluded that the number of horizontal plates and flue gas velocity affect the gravitational settling chamber efficiency. Pressure drops in gravitational settling chamber are less than 1 mm. of water. At flue gas velocity of 18.08 m/s, the collection efficiencies calculated from particle size distribution with “MASTERSIZER" equipment are 39.85, 48.19 and 50.01 % for 15, 20 and 25 shelves, respectively. Thus increasing number of plates will increase the collection efficiency. When observe from the 25 shelves, the collection efficiencies are 46.36, 45.16 and 43.29 % for flue gas velocities 19.81, 21.40 and 22.87 m/s, respectively. Therefore increasing flue gas velocity will decrease the collection efficiency. Temperature drops in the gravitational settling chamber slightly affect the collection efficiencies with average increase of 0.52 %. From analysis the collection efficiencies with calculated from particle size distribution with “MASTERSIZER" equipment presents that the experimental results comparing with the theoretical ones have error involved ranging from 8.6 to 32.1 %.
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
แอนดรูว์, รุกขชาติ, "การศึกษาและออกแบบเครื่องแยกอนุภาคโดยแรงโน้มถ่วงของโลก" (1998). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 21556.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/21556