Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
รูปแบบ การจัดการห่วงโซ่อุปทานเชิงความร่วมมือ กรณีศึกษาบริษัทอุตสาหกรรมของประเทศไทย
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
The collaborative supply chain management in Thai industrial companies
Year (A.D.)
2005
Document Type
Thesis
First Advisor
พุทธกาล รัชธร
Faculty/College
Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Discipline
การจัดการด้านโลจิสติกส์
DOI
10.58837/CHULA.THE.2005.1924
Abstract
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เข้าใจถึงวรรณกรรมทบทวนเกี่ยวกับความร่วมมือและการจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน ทราบถึงตัวขับเคลื่อนห่วงโซ่อุปทานทั้ง 4 เช่น การจัดซื้อคลังสินค้า การกระจายสินค้า และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีความสัมพันธ์ต่อรูปแบบต่างๆ ของความร่วมมือ อาทิเช่น การมีส่วนร่วม การใช้โลจิสติกส์บุคคล ความร่วมมือเชิงสมบูรณ์และอื่นๆ โดยอรรถธิบายเนื้อหาอย่างละเอียด การนำเสนอ รูปแบบโมเดล 2 มิติ กล่าวคือ มิติด้านระดับความร่วมมือและตัวขับเคลื่อนที่หลากหลายเพื่อนำเสนอกรอบ โดยรวมภายในองค์กรในรูปแบบของความร่วมมือและตัวขับเคลื่อนภายในทั้ง 4 ที่แตกต่างกัน นอกจากนั้น รายงานฉบับนี้มุ่งเน้นถึงความร่วมมือภายใต้ห่วงโซ่อุปทานและการจัดการของบริษัทอุตสาหกรรมในประเทศไทย โดยบริษัทเหล่านี้มีแนวโน้มในการใช้ความร่วมมือจากภายนอกเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด จากการศึกษา พบว่ารูปแบบของความร่วมมือและระดับความร่วมมือ ดังนั้นจึงมีการนำเสนอภาพของการจัดการโซ่อุปทาน ในลักษณะขององค์รวม เพื่อพัฒนาไปสู่การมีทักษะที่เกื้อกูลกันโดยสมบูรณ์ นอกจากนี้ รายงานฉบับนี้ได้ เสนอแนะจากผลการศึกษา โดยการสุ่มตัวอย่างจากจำนวนประชากร 200 องค์กรในบริษัทอุตสาหกรรมต่างๆ ในประเทศไทย พบว่า องค์กรควรมีการปรับปรุงทางด้านการกระจายสินค้ามากที่สุด โดยอาศัยการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อแสวงหาการเชื่อมโยงเครือข่ายขององค์กร ขณะที่ความร่วมมือในปัจจุบัน การเป็นพันธมิตรถือเป็นความร่วมมือขั้นพื้นฐานในตัวขับเคลื่อนทั้ง 4 ซึ่งสามารถพัฒนาไปสู่ความร่วมมือ ขั้นสูงขึ้นในอนาคต
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
The purpose of this thesis is to provide a review of literature about collaboration and supply chain logistics. Four key supply chain functions, namely purchasing, warehousing, distribution, and information technology, are indentified and survey in the literature. Different types of collaboration, such as partnership, their-party service, full integration and etc. are explored in detail. With the dimensions of types of collaboration and supply chain functions, a two-dimension matrix model is formed. This model offers an integrated frame of the organization of the types of collaboration and obviously identify the supply chain functions. Besides, this study focuses on the supply chain collaboration arrangement of Thai industrial companies where tend to use more collaborative practices and structures. The study also shows that there are many forms of collaboration. Managers or Executives are faced with challenges on which one is the most appropriate in their organizations, and how to determine the degree of collaboration required. According to the sampling population of 200 organizations in Thai industrial companies, it shows that the organizations need to concern on the distribution by using information technology to link the organizations' network whereas the present collaboration is the basic type of strategic alliance which can develop into the higher levels of collaboration in the future.
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
ลีลากิจกุล, เจษฎา, "รูปแบบ การจัดการห่วงโซ่อุปทานเชิงความร่วมมือ กรณีศึกษาบริษัทอุตสาหกรรมของประเทศไทย" (2005). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 20594.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/20594