Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Effects of genistein and exercise training on endothelial dysfunction in aging male rats
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
ผลของเจนีสตีนและการออกกำลังกายต่อการสูญเสียหน้าที่ของเอนโดทีเลียมในหนูแก่เพศผู้
Year (A.D.)
2009
Document Type
Thesis
First Advisor
Prasong Siriviriyakul
Second Advisor
Suthiluk Patumraj
Third Advisor
Daroonwan Suksom
Faculty/College
Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Discipline
Physiology
DOI
10.58837/CHULA.THE.2009.2304
Abstract
The present study aims to investigate the effects of genistein, a potent phyto-antioxidant, and exercise training on age-induced endothelial dysfunction. Male Wistar rats (20-22-month old) were divided into five groups: 1) aged rats treated with corn oil (Aged+Veh), 2) aged rats treated with genistein (Aged+Gen, (0.25 mg/kg BW/day, s.c.)), 3) aged rats without exercise training (Aged+Without-Ex), 4) aged rats with exercise training (Aged+Ex, swimming 40 min/day, 5 days/week for 8 weeks), and 5) aged rats treated with both genistein and exercise training (Aged+Gen+Ex) group. The cremaster arterioles response to acetylcholine (Ach; 10⁻⁵ M, 5ml/5min) was accessed after 1-min norepinephrine preconstriction (10 μM). To determine NO bioavailability, the Krebs-Ringer buffer with 4, 5-diaminofluorescein-diacetate (3 μM DAF-2DA), and 10 μM Ach saturated with 95%N2 and 5%CO₂ were used. Changes NO-associated fluorescent intensity along the cremaster arterioles were analyzed by the Image Pro-Plus Software. Liver malondialdehyde (MDA) level was measured by thiobarbituric acid reaction and used as an indicator for oxidative stress. TNF-α level was determined by ELISA kit. The results showed that the mean arterial blood pressure (MAP), MDA level and TNF-α level of Aged groups (Aged+Without-Ex and Aged+Veh) were significantly increased when compared to controls. MAP, MDA level and TNF-α level of Aged-treated group (Aged+Gen, Aged+Ex and Aged+Gen+Ex groups) were significantly decreased as compared to their age-matched control groups (P<0.05). In these three groups of treatments, Ach-induced vasodilation after preconstriction with norepinephrine and NO-associated fluorescent intensity were significantly increased as compared to their age-matched control groups (P<0.05). The correlation between, Ach-induced vasodilatation and NO-associated fluorescent intensity was demonstrated and represented by a linear line: y = 0.4276x – 2.0966, R²=0.82, (P<0.01). These findings indicated that genistein and exercise training could improve age-induced endothelial dysfunction via reduced oxidative stress, reduced TNF-α and increased NO bioavailability.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของเจนีสตีนและการฝึกออกกำลังกายต่อการสูญเสียหน้าที่ของเอนโดทีเลียม โดยใช้หนูแก่เพศผู้พันธุ์วิสตาร์ แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ 1) หนูที่ได้รับตัวทำละลายเจนีสตีน, 2) หนูที่ได้รับเจนีสตีน (0.25 มก./กก./วัน, ฉีดเข้าทางใต้ผิวหนัง), 3) หนูที่ได้รับการแช่น้ำเป็นกลุ่มเปรียบเทียบกับกลุ่มออกกำลังกาย, 4) หนูที่ได้รับการออกกำลังกายโดยการว่ายน้ำ (40 นาที/วัน, 5 วัน/สัปดาห์) และ 5) หนูที่ได้รับทั้งเจนีสตีนและการออกกำลังกาย โดยทุกกลุ่มได้รับสารหรือการออกกำลังกายเป็นเวลาทั้งหมด 8 สัปดาห์ ทำการศึกษาหน้าที่ของเอนโดทีเลียมจากการตอบสนองของหลอดเลือดแดงรองที่กล้ามเนื้อครีแมสเตอร์ต่อสารอะเซทิลโคลีน (10⁻⁵ โมลาร์) และจากการวัดไนตริกออกไซด์โดยการใช้สาร 4,5-ไดอะมิโนฟลูออเรสซีน ไดอะซิเตท (3 ไมโครโมลาร์) ซึ่งวิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรมอิมเมจโปรพลัส นอกจากนี้ ทำการตรวจวัดภาวะออกซิเดทีฟสเตรส ด้วยการวัดค่ามาลอนไดอัลดีไฮด์ของตับ และทำการตรวจวัดภาวะการอักเสบ ด้วยการวัดค่าทีเอ็นเอ็ฟ-แอลฟาในซีรั่ม ผลการทดลองพบว่าในหนูแก่มีการสูญเสียหน้าที่ของเอนโดทีเลียม รวมทั้งมีการเพิ่มขึ้นของค่าความดันเลือดแดงเฉลี่ย ภาวะออกซิเดทีฟสเตรส และภาวะการอักเสบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยพบว่าการที่หนูแก่ได้รับเจนีสตีน การออกกำลังกาย หรือได้รับทั้งเจนีสตีนและการออกกำลังกายเป็นเวลา 8 สัปดาห์นั้นสามารถช่วยลดความดันเลือดแดงเฉลี่ย ภาวะออกซิเดทีฟสเตรส และภาวะการอักเสบ อีกทั้งยังช่วยเพิ่มการทำงานของเอนโดทีเลียมได้จากการที่เพิ่มการตอบสนองของหลอดเลือดแดงรองที่กล้ามเนื้อครีแมสเตอร์ต่อสารอะเซทิลโคลีนและมีปริมาณไนตริกออกไซด์เพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ ยังพบว่าการตอบสนองของหลอดเลือดแดงรองต่อสารอะเซทิลโคลีนมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับค่าไนตริกออกไซด์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าเจนีสตีนและการฝึกออกกำลังกายสามารถช่วยทำให้หน้าที่การทำงานของเอนโดทีเลียมในหนูแก่ดีขึ้นได้ โดยการลดการเกิดภาวะออกซิเดทีฟสเตรส ลดปริมาณทีอ็นเอ็ฟ-แอลฟาและเพิ่มปริมาณไนตริกออกไซด์
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Eksakulkla, Sukanya, "Effects of genistein and exercise training on endothelial dysfunction in aging male rats" (2009). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 18322.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/18322