Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Physical properties and biological response of an apatite modified glass iononer cement
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
คุณสมบัติทางกายภาพและการตอบสนองทางชีวภาพของอะปาไทท์มอดิฟายด์กลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์
Year (A.D.)
2011
Document Type
Thesis
First Advisor
Suchit Poolthong
Second Advisor
Shinya Murakami
Faculty/College
Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Discipline
Chemistry
DOI
10.58837/CHULA.THE.2011.2211
Abstract
Objectives. To develop a novel glass ionomer cement (GIC) with improved physical properties and in vitro biological response to human pulp cells. Method. Magnesium carbonate apatite (MgCO₃Ap) was synthesized by precipitation method and characterized by Scanning Electron Microscopy, Fourier Transformed-Infrared Spectroscopy and X-ray Photoelectron Spectroscopy. The test cement was prepared by adding 2.5% by weight of MgCO₃Ap to Fuji IX GP® (control) and encapsulated mixing with the liquid (P/L=3.6:1). Setting time, compressive strength, fracture toughness, shear bond and microleakage tests were performed according to international standards (ISO 9917-1, ASTM E399-90 and ISO/TS 11405). Inductive Couple Plasma Optical Emission Spectroscopy and Fluoride Ion Electrode were used to determine calcium, magnesium and fluoride ion release respectively. WST-1 cell proliferation, Alkaline Phosphatase (ALPase) assay, Real Time-PCR and Alizarin red staining were used to evaluate biological responses. Results. The test cement had significantly improved fracture toughness, less microleakage at dentin interface (p<.05) and exhibited higher cell proliferation, improved ALPase activity, early expression of COL1A1, DMP-1 and DSPP compared to the control. Conclusion. 2.5% MgCO₃ApGIC demonstrated improved physical properties and biological response to human pulp cells compared to Fuji IX GP®. This finding indicated a potential of MgCO₃ApGIC to be a restorative material for higher clinical performance and pulp-dentin regeneration.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาคุณสมบัติทางกายภาพและการตอบสนองทางชีวภาพของวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ (ซีเมนต์) วิธีการทดลอง สังเคราะห์ผงแมกนีเซียมคาร์บอเนต อะปาไทท์ (อะปาไทท์) ด้วยวิธีการตกตะกอน พิสูจน์เอกลักษณ์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนชนิดส่องกราด, ฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรเมตรีและเอกซเรย์โฟโตอิเลคตรอนสเปกโทรสโกปี เตรียมกลุ่มทดสอบโดยใส่อะปาไทท์ร้อยละ 2.5 โดยน้าหนักในผงซีเมนต์ (Fuji IX GP®, กลุ่มควบคุม) ผสมผงกับส่วนของเหลว (อัตราส่วน 3.6 ต่อ 1) ด้วยเครื่องปั่นอมัลกัม ทดสอบเวลาแข็งตัว, ความทนแรงอัด,การทนความเค้นการแตก, ความทนแรงยึดเฉือนและระดับการรั่วซึมเล็กตามเกณฑ์มาตรฐานสากล วัดการคายแคลเซียม และแมกนีเซียมไอออนโดยอินดักทีฟคัปเปิลพลาสมาออพติคอลอีมิสชันสเปกโทรสโกปี, ฟลูออไรด์ไอออนด้วยฟลูออไรด์ไอออนซีเล็คทีฟอิเล็กโทรด วัดการตอบสนองทางชีวภาพจากการแบ่งตัวของเซลล์ด้วย WST-1, การทางานของเอนไซม์อัลคาไลน์ฟอสฟาเตส, การแสดงออกของยีน COL1A1, DMP-1 และ DSPP โดยวิธีเรียลไทม์พีซีอาร์ รวมถึงวัดการสร้างแร่ธาตุด้วยการย้อมสีอะลิซารินเรด ผลการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าการทนความเค้นการแตกสูงขึ้น, ระดับการรั่วซึมเล็กบริเวณรอยต่อเนื้อฟันลดลงอย่างมีนัยสาคัญ, มีการแบ่งตัวของเซลล์, การทำงานของเอนไซม์และการแสดงออกของยีน COL1A1, DMP-1และDSPP สูงขึ้นกว่ากลุ่มควบคุมสรุป วัสดุกลุ่มทดลองมีคุณสมบัติทางกายภาพและการตอบสนองทางชีวภาพต่อเซลล์เนื้อเยื่อในฟันมนุษย์ที่ดีขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม ควรนำมาพัฒนาเพื่อให้เป็นวัสดุบูรณะฟันที่มีคุณสมบัติที่ดีขึ้นในการใช้งานในทางคลินิกและเพื่อส่งเสริมการสร้างใหม่ของเนื้อฟัน
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Laiteerapong, Arunee, "Physical properties and biological response of an apatite modified glass iononer cement" (2011). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 17614.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/17614