Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
การศึกษารังสีคอสมิคปฐมภูมิชนิดหนักที่ระดับสูง 158 กิโลเมตร โดยโฟโตกราฟฟิคนิวเคลียร์อิมัลชั่น
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
The study of heavey primary cosmic rays at altitude 158 kilometers by photographic nuclear emulsions
Year (A.D.)
1970
Document Type
Thesis
First Advisor
ถาวร สุทธิพงศ์
Faculty/College
Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Discipline
ฟิสิกส์
DOI
10.58837/CHULA.THE.1970.59
Abstract
นิวเคลียร์อิมัลชั่น อิฟอร์ด K.5 1 ชุดจำนวน 42 แผ่น ได้รับศูนย์วิจัยนิวเคลียร์แห่งเมืองสตราสบูร์ก ประเทศฝรั่งเศส เพื่อทำการวิจัยในครั้งนี้ อิมัลชั่นชุดนี้ได้ส่งขึ้นไปรับรังสีโดยใช้จรวด (v.47) ณ ตำแหน่งเส้นรุ้ง 2 องศาเหนือและเส้นแวง 32 องศาตะวันออก เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2506 และเวลาที่จรวดลอยอยู่ในอากาศ 20 นาที ในการวิเคราะหืได้ใช้วิธีนับความหนาแน่นของเม็ดเงินกับระยะทาง และวิธีนับความหนาแน่นของรัสีเดลต้า ผลของการวิเคราะห์พบว่าอนุภาคที่มีพลังงานต่ำที่มาหยุดในอิมัลชั่นส่วนมากเป็นโปรตอนที่มาจากกลุ่มอนุภาคอัลเบโด ไม่พบอนุภาคอัลฟ่าที่มีพลังงานต่ำที่มาหยุดในอิมัลชั่น และพบว่าแก่นกลางอะตอมของธาตุที่มีพลังงานสุงเป็นโอบรอนสี่ตัวคาร์บอนหนึ่งตัว ไนโตรเจนหนึ่งตัว และอาร์กอนหนึ่งตัว เนื่องจากเวลาที่อิมัลชั่นรับรังสีโดยใช้จรวดนั้นสั้น จึงทำให้จำนวนอนุภาคที่ผ่านอิมัลชั่นชุดนี้มีปริมาณน้อย การวิเคราะห์จึงไม่ค่อยจะสมบุรณ์เท่าที่ควร
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
The stack of nuclear emulsion in this research consisted of 42 pellicles of type Ilford K.5 was kindly given by the Nuclear Research Centre of Strasboug, France. It was launched by the rocket (V.47) at geomagnetic latitude 2 N and longitude 32 E on 18th October 1963 and 20 minutes in flight. The grain density vs. range method and the delta-ray density method were used for indentification of particles. The results of the analysis indicated tha the low energy particles stopped in the emulsion were mainly protons from re-entrant albedo particles. The stopped a- particles were not discovered in this case. The observed relativistic heavy nuclei were four borons, one carbon, one nitrogen and one argon. According to the limited time of exposure by the rocket the number of particles recorded in the stack emulsion was very few, so that the results were not so satisfactory
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
ชาครวัฒน์, รัตนา, "การศึกษารังสีคอสมิคปฐมภูมิชนิดหนักที่ระดับสูง 158 กิโลเมตร โดยโฟโตกราฟฟิคนิวเคลียร์อิมัลชั่น" (1970). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 14646.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/14646