Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

ความสวยงามในผู้สูงอายุ: การเปรียบเทียบการรับรู้ระหว่างทันตแพทย์เฉพาะทางทันตกรรมประดิษฐ์ ทันตแพทย์ และบุคคลทั่วไป

Year (A.D.)

2023

Document Type

Thesis

First Advisor

Wareeratn Chengprapakorn

Faculty/College

Faculty of Dentistry (คณะทันตแพทยศาสตร์)

Department (if any)

Department of Prosthodontics (ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์)

Degree Name

Master of Science

Degree Level

Master's Degree

Degree Discipline

Prosthodontics

DOI

10.58837/CHULA.THE.2023.561

Abstract

In this study, we evaluated the esthetic perceptions of prosthodontists, general practitioners, and laypeople in elderly smile, using varying the exposure of the maxillary incisors in rest position and a full smile, size of buccal corridor and gingival display of maxillary posterior teeth. The picture of elderly smile was modified and shown with randomized sequence. Participants are asked to rate each image by using a numerical visual analog scale (0-10 scale). A total of 150 participants consisted of 50 Thai prosthodontists, 50 general practitioners, and 50 laypeople. Some pictures exhibited statistically significant differences (p0.05). All variation of incisal display were unattractive (median = 2.00-3.00). Prosthodontists were the most critical whereas laypeople had the lowest threshold for esthetic perception of elderly smiles.

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการรับรู้ความสวยงามของรอยยิ้มผู้สูงอายุระหว่างทันตแพทย์เฉพาะทางทันตกรรมประดิษฐ์ ทันตแพทย์ และบุคคลทั่วไป โดยใช้แบบสอบถามที่ประกอบด้วยรูปปรับแต่งรอยยิ้มผู้สูงอายุจากบุคคลต้นแบบในปัจจัยด้านต่างๆ ได้แก่ ระดับปลายฟันบนที่มองเห็นในท่าพัก ปริมาณฟันหน้าบนที่ปรากฏขณะยิ้ม ขนาดเฉลียงข้างแก้ม และปริมาณเหงือกฟันหลังบนที่มองเห็น รูปปรับแต่งถูกนำเสนอโดยเรียงลำดับแบบสุ่ม และให้คะแนนความสวยงามผ่านมาตรคะแนนแบบตัวเลข 1 ถึง 10 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดจำนวน 150 ราย ซึ่งมาจากทันตแพทย์เฉพาะทางทันตกรรมประดิษฐ์ ทันตแพทย์ และบุคคลทั่วไปกลุ่มละ 50 ราย เมื่อเปรียบเทียบระหว่างและภายในกลุ่มอาสาสมัครพบความแตกต่างในการรับรู้ความสวยงามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p0.05) และมีคะแนนอยู่ในเกณฑ์ไม่สวยงาม (มัธยฐาน = 2.00-3.00 คะแนน) ในทุกกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่า ในทุกกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามให้คะแนนความสวยงามสูงสุดตรงกันในภาพปรับแต่งความยาวของฟันหน้า 10 มิลลิเมตร ขนาดเฉลียงข้างแก้ม 10 และ 20 เปอร์เซ็นต์ และปริมาณของเหงือกฟันหลัง 0 และ 1 มิลลิเมตร ซึ่งการรับรู้ความสวยงามในรอยยิ้มผู้สูงอายุมีความใกล้เคียงกับรอยยิ้มวัยหนุ่มสาว กลุ่มทันตแพทย์เฉพาะทางทันตกรรมประดิษฐ์มีการให้คะแนนความสวยงามน้อยกว่ากลุ่มทันตแพทย์และบุคคลทั่วไป และกลุ่มบุคคลทั่วไปมีการรับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงขนาดเฉลียงข้างแก้ม ความยาวฟันหน้า และปริมาณเหงือกของฟันหลังในรอยยิ้มผู้สูงอายุน้อยที่สุด

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.