Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

Outcomes associated with a strategy of combination diuretic therapy or high-dose loop diuretics in congestive heart failure with poor loop diuretic response

Year (A.D.)

2023

Document Type

Thesis

First Advisor

เอกราช อริยะชัยพาณิชย์

Faculty/College

Faculty of Medicine (คณะแพทยศาสตร์)

Department (if any)

Department of Medicine (ภาควิชาอายุรศาสตร์ (คณะแพทยศาสตร์))

Degree Name

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree Level

ปริญญาโท

Degree Discipline

อายุรศาสตร์

DOI

10.58837/CHULA.THE.2023.596

Abstract

ที่มาและความสำคัญ ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีภาวะดื้อต่อยาขับปัสสาวะสัมพันธ์กับผลลัพธ์ในการรักษาที่ไม่ดี ในปัจจุบันหลักฐานเกี่ยวกับกลยุทธ์ในการใช้ยาขับปัสสาวะในผู้ป่วยกลุ่มนี้ยังมีไม่มาก การศึกษานี้เป็นการศึกษาผลลัพธ์ของการใช้ยาขับปัสสาวะชนิดที่สองร่วมกับยาฟูโรซีไมด์เปรียบเทียบกับการใช้ยาฟูโรซีไมด์เพียงชนิดเดียวในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีภาวะดื้อต่อยาขับปัสสาวะ ระเบียบการวิจัย เป็นการศึกษาแบบทบทวนย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ รวบรวมผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเฉียบพลันที่มีภาวะดื้อต่อยาขับปัสสาวะ และมานอนรักษาตัวที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โดยภาวะดื้อต่อยาขับปัสสาวะคือ การได้รับยาฟูโรซีไมด์มากกว่าหรือเท่ากับ 240 มิลลิกรัมต่อวัน และการใช้ยาขับปัสสาวะตัวที่สองคือ การใช้ยาขับปัสสาวะกลุ่มอื่นร่วมกับการใช้ยาฟูโรซีไมด์ โดยที่ตัวแปรที่ต้องการศึกษาคืออัตราการเสียชีวิตภายใน 90 วัน ภายหลังการออกจากโรงพยาบาล ผลการศึกษา มีผู้ป่วยทั้งหมด 985 คน โดยที่ 197 คนอยู่ในกลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยาขับปัสสาวะตัวที่สองร่วมกับยาฟูโรซีไมด์ และอีก 788 คนอยู่ในกลุ่มที่ได้รับยาฟูโรซีไมด์เพียงชนิดเดียว พบว่า อัตราการเสียชีวิตภายใน 90 วัน หลังออกจากโรงพยาบาลของทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ร้อยละ 37.6 และร้อยละ 33.4 ตามลำดับ, P = 0.27) แต่ในกลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยาขับปัสสาวะตัวที่สองร่วมกับยาฟูโรซีไมด์พบว่ามีอัตราการเพิ่มขึ้นของค่าคริเอตินินในเลือดที่น้อยกว่ากลุ่มที่ใช้ยาฟูโรซีไมด์เพียงชนิดเดียวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ร้อยละ 15.2% และร้อยละ 30.8 ตามลำดับ, P

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

Background: Diuretic resistance is associated with poor outcomes. Limited evidence on diuretic strategy is unknown. This study aims to examine outcomes in a combination diuretics strategy compared with a furosemide titration strategy. Methods: This study is a retrospective observational study. The definition of diuretic resistance was using an accumulative dose of more than 240 mg/day of intravenous furosemide. The definition of combination diuretics therapy was a combination of at least one diuretic (HCTZ, tolvaptan, acetazolamide, and SGLT-2i) with furosemide. The primary outcome was a 90-day mortality. The secondary outcomes were in-hospital mortality, hospital length of stay, and incidence of worsening of serum creatinine. Results: The overall 90-day mortality rate was 34.2%. There was no difference in the90-day mortality between the combination diuretic group and furosemide titration group (37.6% vs 33.4%, P = 0.27). Interestingly, worsening serum creatinine happened less common with the combination diuretics group compared to the furosemide titration group (15.2% vs 30.8%, P

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.