Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
ปัจจัยพยากรณ์โรคที่ส่งผลต่อผลการรักษาในผู้ป่วยโรคลมชักที่มีแผลเป็นในสมองส่วนฮิปโปแคมปัสในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
Year (A.D.)
2023
Document Type
Thesis
First Advisor
Chusak Limotai
Faculty/College
Faculty of Medicine (คณะแพทยศาสตร์)
Department (if any)
Department of Medicine (ภาควิชาอายุรศาสตร์ (คณะแพทยศาสตร์))
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's Degree
Degree Discipline
Medicine
DOI
10.58837/CHULA.THE.2023.620
Abstract
Background: Study aimed to identify predictors and develop a guided prediction tool for persistent seizures in a large hippocampal sclerosis (HS) cohort to aid early referral for epilepsy surgery in at-risk patients. Materials and Methods: We studied patients with temporal lobe epilepsy and hippocampal sclerosis (TLE-HS). We evaluated demographic data, seizure characteristics, and MRI findings to identify predictors of persistent seizures. Cumulative incidence function and competing risk analysis were used. A prediction tool for persistent seizures was developed based on significant predictors. Results: Of 568 TLE-HS patients. Five predictors of persistent seizures were identified: seizure frequency >50 times/month, psychiatric comorbidity, bilateral tonic-clonic seizures >50 times, atypical semiology for mesial TLE, and dual pathology with extratemporal lesions. Each predictor was assigned a weighted point (2, 2, 1, 1, 2, respectively). Total score ≥3 were considered high risk, with a 1.87 times higher annual rate of persistent seizures. Conclusion: Our developed prediction tool for persistent seizures in TLE-HS may be helpful to guide treating neurologists early select at-risk patients for referral. External validation of our model is required.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
ที่มาของปัญหางานวิจัย การศึกษานี้เป็นการศึกษาตามรุ่นย้อนหลังในผู้ป่วยโรคลมชักจากสมองกลีบข้างที่พบลักษณะแผลเป็นบริเวณสมองส่วนฮิปโปแคมปัส เพื่อหาตัวแปรทำนาย และพัฒนาตัวแบบทำนายสำหรับผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการไม่มีช่วงชักสงบที่ควรได้รับการประเมินการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด ระเบียบวิธีการวิจัย การศึกษานี้ทำในผู้ป่วยจากคลินิกโรคลมชักครบวงจรฯ ที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคลมชักจากสมองกลีบข้างที่พบแผลเป็นบริเวณสมองส่วนฮิปโปแคมปัส โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ระยะปลอดเหตุการณ์ชนิดความเสี่ยงแข่งขันร่วมกับโมเดลฟังก์ชันความเสี่ยงอันตรายในกลุ่มย่อย และอุบัติการณ์สะสมเชิงฟังก์ชัน เพื่อหาตัวแปรสำหรับทำนายการไม่มีช่วงชักสงบ และมีการกำหนดคะแนนสำหรับตัวแบบทำนายโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์บีตาของตัวแปรที่พบนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษา จากผู้ป่วย 568 ราย พบว่าตัวแปรที่สัมพันธ์กับการไม่มีช่วงชักสงบ ได้แก่ ความถี่ของชัก >50 ครั้งต่อเดือน โรคร่วมทางจิตเวช จำนวนชักแบบเกร็งกระตุกสองข้าง >50 ครั้ง, ลักษณะชักที่ไม่ปกติสำหรับสมองกลีบข้างด้านใน และพยาธิสภาพนอกสมองกลีบข้าง ตัวแปรดังกล่าวถูกกำหนดคะแนนเป็น 2, 2, 1, 1, 2 ตามลำดับ พบว่าคะแนน >3 เพิ่มอัตราเสี่ยงของการไม่มีช่วงชักสงบต่อปีเป็น 1.87 เท่า สรุป ตัวแบบทำนายนี้สามารถคัดกรองผู้ป่วยโรคลมชักจากสมองกลีบข้างที่พบแผลเป็นบริเวณสมองส่วนฮิปโปแคมปัส ที่มีความเสี่ยงการไม่มีช่วงชักสงบ เพื่อช่วยในการส่งต่อเข้ารับการประเมินการผ่าตัด อย่างไรก็ตามยังจำเป็นต้องศึกษาความเที่ยงตรงภายนอกเพิ่มเติม
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Taemeeyapradit, Pharanpong, "Prognostic factors for treatment outcomes in epilepsy patients with hippocampal sclerosis in King Chulalongkorn Memorial Hospital" (2023). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 11798.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/11798