Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
The efficacy of mobile application on diabetes prevention compared with standard of care in adults with prediabetes: randomized control trial
Year (A.D.)
2023
Document Type
Thesis
First Advisor
ปนัดดา ศรีจอมขวัญ
Second Advisor
ณิชกานต์ หลายชูไทย
Faculty/College
Faculty of Medicine (คณะแพทยศาสตร์)
Department (if any)
Department of Medicine (ภาควิชาอายุรศาสตร์ (คณะแพทยศาสตร์))
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Discipline
อายุรศาสตร์
DOI
10.58837/CHULA.THE.2023.640
Abstract
ที่มา: ภาวะก่อนเบาหวานเป็นภาวะที่พบในผู้ที่ระดับน้ำตาลในเลือดยังไม่เข้าเกณฑ์การวินิจฉัยโรคเบาหวานแต่มีความผิดปกติในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตแล้ว และเป็นปัจจัยเสี่ยงหนึ่งในการเกิดโรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดหัวใจ วัตถุประวงค์สงค์งค์ข: ศึกษาประสิทธิผลของการใช้แอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือในผู้ที่มีภาวะก่อนเบาหวานต่อระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร ค่าเมตาบอลิกพารามิเตอร์ต่างๆ รวมทั้งการเปลี่ยนจากภาวะก่อนเบาหวานกลับสู่ภาวะน้ำตาลปกติ วิธีการศึกษา: ทำการศึกษาแบบสุ่มแบบมีกลุ่มควบคุมระยะเวลา 6 เดือน รวบรวมเจ้าหน้าที่บุคลากรภายใน รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย, สภากาชาดไทย และ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย รพ.จุฬาลงกรณ์และสภากาชาดไทยที่มีภาวะก่อนเบาหวานอายุ 18-60 ปี แบ่งเป็น 2 กลุ่มแบบสุ่มระหว่างอยู่ในกลุ่มที่ใช้แอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือหรือและกลุ่ม ที่ได้รับการดูแลมาตรฐาน โดยประเมินstandard care ผลลัพธ์หลักคือ การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร fasting plasma glucose (FPG) ที่ 6 เดือน ผลลัพธ์รองคือการเปลี่ยนแปลงของค่าสัดส่วนของร่างกายต่างๆ ค่าเมตาบอลิกพารามิเตอร์ต่างๆ คุณภาพชีวิต และความรู้ในการจัดการสุขภาพของตนเอง การศึกษานี้ทำการลงทะเบียนใน TCTR20230921001 ผลการวิจัย: รวบรวมผู้ที่มีภาวะก่อนเบาหวานได้ทั้งหมด 131 คน แบ่งเป็นกลุ่มแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ 64 คนและกลุ่ม ที่ได้รับการดูแลมาตรฐาน standard care 67 คน อายุเฉลี่ยของผู้เข้าวิจัยคือ 45.9 ± 9.49 ปี ค่า body weightน้ำหนัก ตั้งต้นของกลุ่มแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลมาตรฐาน standard care คือ 69.3 ± 11.3 และ 75.4 ± 15.9 กิโลกรัม ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่าที่ 6 เดือน กลุ่มที่ใช้แอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือลดน้ำหนัก, เส้นรอบเอว, สัดส่วนไขมันในร่างกาย และ ระดับระดับฮีโมโกลบินเอวันซี มากกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลมาตรฐาน มีค่า bodyweight, waist circumference, % body fat, และ HbA1c ลดลงมากกว่ากลุ่ม standard care อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ไม่พบความแตกต่างของ ระดับน้ำตาลในเลือดก่อนอาหาร FPG ที่ 6 เดือนโดยมีค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของ ระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหารFPG -2.60 mg/dL [95% CI -5.73, 0.52], p=0.102) สรุปผล: การใช้แอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือเป็นเครื่องมือช่วยในการดูแลผู้ที่มีภาวะก่อนเบาหวาน มีประสิทธิผลในลดน้ำหนัก, เส้นรอบเอว, สัดส่วนไขมันในร่างกาย และ ระดับระดับฮีโมโกลบินเอวันซี การลด body weight, waist circumference, % body fat, HbA1c ที่ 3 และ 6 เดือน, ลด ระดับน้ำตาลที่ 2 ชั่วโมงหลังทำ oral glucose tolerance test2-hr OGTT PG และ triglyceride ไตรกลีเซอไรด์ที่ 3 เดือน, เพิ่ม %muscle massสัดส่วนกล้ามเนื้อ ที่ 6 เดือน และพบอัตราการเปลี่ยนจากภาวะก่อนเบาหวาน (prediabetes) เป็นภาวะน้ำตาลปกติ (normoglycemia) สูงกว่าการดูแลตามมาตรฐานปกติ
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
Background: Prediabetes is increasingly recognized as an important metabolic state at high risk of developing overt diabetes and its associated complications. The objective of this study is to evaluate the efficacy of mobile phone applications in patients people with prediabetes on reducing fasting plasma glucose level and various metabolic parameters including changing from pre-diabetic state back to normoglycemia state to determine whether they can reduce the incidence of diabetes and diabetes-related complications compared to conventional standard of care. Methods: We are conducting a randomized controlled trial involving the officers of King Chulalongkorn Memorial Hospital with prediabetes. Participants are randomly assigned into either the intervention group (mobile phone application group) or control group (standard care group). The primary outcome is the change in fasting plasma glucose (FPG) at 6 months. The secondary outcomes are changes in anthropometric, metabolic parameters, quality of life, and knowledge and confidence to manage participants' own health assessed by specific questionnaire. The trial was registered in TCTR20230921001. Results: A total of 131 prediabetic participants completed the study, with 64 participants in the application group and 67 participants in the standard care group. The mean age is 45.9 ± 9.49 years. Body weight at baseline is lower in the application group than standard care group which were 69.3 ± 11.3 and 75.4 ± 15.9, respectively. In the intention-to-treat (ITT) analyses, changes in the participants’ bodyweight, waist circumference, percentage of body fat, and HbA1cHbA1c were significantly different at 6 months between the intervention and control groups, but there is no difference in FPG (mean difference -2.60 mg/dL [95% CI -5.73, 0.52], p=0.102). Conclusion: Use Using of mobile phone application achieved significant reductions in anthropometric and metabolic parameters including body weight, waist circumference, percentage of body fat, and HbA1HbA1cC compared with standard care at 6 months in prediabetic participants. The use of a mobile application is one method that can help improve various outcomes in prediabetic patients.
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
วงษ์หาแก้ว, ณัฐพล, "ประสิทธิผลในการป้องกันโรคเบาหวานโดยการใช้แอปพลิเคชันบนมือถือในผู้ป่วยภาวะก่อนเบาหวานเทียบกับการดูแลมาตรฐาน" (2023). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 11777.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/11777