Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

Customer claims evaluation on the public rail transport system

Year (A.D.)

2023

Document Type

Independent Study

First Advisor

มาโนช โลหเตปานนท์

Faculty/College

Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)

Degree Name

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree Level

ปริญญาโท

Degree Discipline

การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน

DOI

10.58837/CHULA.IS.2023.294

Abstract

งานวิจัยนี้มีจุดประสงส์เพื่อเพื่อศึกษาข้อร้องเรียนและประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อระบบการขนส่งรถไฟฟ้าสาธารณะ เพื่อใช้หาแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของระบบการขนส่งรถไฟฟ้าสาธารณะ โดยใช้ข้อมูลจากข้อร้องเรียนของผู้โดยสารที่ใช้บริการระบบการขนส่งรถไฟฟ้าสาธารณะสายสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) นำมาพัฒนาแบบบสอบถาม ซึ่งออกแบบตามหลัก SERVQUAL Model เพื่อสอบถามและเก็บข้อมูลผู้โดยสารแล้วจึงนำข้อมูลจากแบบสอบถามมาหาค่าช่องว่างของการให้บริการ และนำข้อมูลมาวิเคราะห์ จัดลำดับความต้องการของผู้โดยสารพร้อมทั้งความต้องการ และแนวทางการปรับปรุงคุณภาพ เพื่อลดช่องว่างการให้บริการ โดยจากผลการสำรวจกลุ่มตัวอย่างที่เคยใช้บริการจำนวน 400 คนพบว่า ความคาดหวังโดยรวมของมิติการให้บริการทั้ง 5 มิติมีคะแนนอยู่ที่ 4.1 ซึ่งถือว่าอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูง และคุณภาพที่ผู้ใช้บริการได้รับโดยรวมของมิติการให้บริการทั้ง 5 มิติมีคะแนนอยู่ที่ 3.6 ซึ่งถือว่าอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูงเช่นกัน จากการวิเคราะห์แบบสอบถามพบว่าความต้องการของผู้โดยสารที่สำคัญที่สุด ที่ต้องการให้ผู้ให้บริการปรับปรุงคือเรื่องการจัดการและความสะดวกในการเข้าถึง ตู้จำหน่ายตั๋วโดยสารอัตโนมัติ และการจัดการการจราจร ดังนั้นการพัฒนาระบบรถไฟฟ้าควรคำนึงถึงการปรับปรุงให้เหมาะสมกับความต้องการและความคาดหวังของผู้ใช้บริการ เพื่อลดช่องว่างในการให้บริการนอกจากนี้ แต่หากผู้ให้บริการรถไฟฟ้าได้ทำตามมาตรฐานการให้บริการที่กำหนดแล้ว ซึ่งเป็นมาตรฐานที่มีความสมเหตุสมผลและได้รับการยอมรับระดับสากลแล้ว ผู้ใช้บริการควรมองปัญหาและสิ่งที่เกิดขึ้นในมุมมองของผู้ให้บริการเพื่อให้สามารถใช้บริการได้อย่างพึงพอใจและมีคุณภาพที่ดีขึ้นได้อีกด้วย

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

This research aims to investigate user complaints and evaluate satisfaction with the public railway transportation system, specifically the MRT (Blue Line), to identify potential improvements in service quality. The study employs data from passenger complaints and utilizes a questionnaire based on the SERVQUAL Model to collect and analyze passenger feedback. From a survey of a sample group of 400 users, it was found that overall expectations across the five service dimensions averaged 4.1, indicating relatively high expectations. Similarly, the overall perceived quality across these dimensions averaged 3.6, which is also relatively high. Analysis of the questionnaire revealed that the most significant areas for improvement, as identified by passengers, include management and accessibility convenience, automated ticket vending machines, and traffic management. Therefore, in developing the railway system, it is crucial to consider appropriate measures to meet user expectations and enhance service quality, thereby reducing service gaps.Furthermore, if the railway service provider adheres to established service standards that are logical and internationally recognized, passengers are likely to perceive issues and occurrences from the perspective of the service provider, thereby enhancing satisfaction and overall service quality.

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.