Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
ระบบปัญญาประดิษฐ์สำหรับช่วยตรวจหาก้อนในตับระหว่างการทำอัลตร้าซาวด์ในเวลาจริง
Year (A.D.)
2022
Document Type
Thesis
First Advisor
Roongruedee Chaiteerakij
Second Advisor
Sanparith Marukatat
Faculty/College
Faculty of Medicine (คณะแพทยศาสตร์)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Discipline
Clinical Sciences
DOI
10.58837/CHULA.THE.2022.1173
Abstract
Background & Objectives: Ultrasound is the primary imaging modality for surveillance of hepatocellular carcinoma (HCC). Variability in the operator experience can affect detection of focal liver lesions (FLL). We have previously developed an AI system for detection of FLLs in ultrasound. The primary aim of this study was to evaluate whether the AI system can assist non-expert operators to detect FLLs in real-time during ultrasound examinations. Methods: This prospective randomized controlled study was conducted at a university hospital. We evaluated the AI system in assisting non-expert and expert operators. Patients with and without FLLs underwent ultrasound examinations twice by operators with and without AI assistance. FLL detection rates and false positives were compared between study arms with and without AI assistance. McNemar’s test was used to formally compared the paired detection rates and false positives. Results: 260 patients with 271 FLLs and 244 patients with 240 FLLs were enrolled into the non-expert and expert operator groups, respectively. In the non-expert operator group, FLL detection rate in the study arm with AI assistance was significantly higher than in the study arm without AI assistance (36.9% vs 21.4%, p
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
ที่มา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์: อัลตราซาวด์เป็นการตรวจทางรังสีวิทยาหลักที่ใช้สำหรับตรวจคัดกรองมะเร็งตับชนิดปฐมภูมิ ประสบการณ์ของผู้ทำอัลตราซาวด์ส่งผลต่ออัตราการตรวจพบก้อนในตับ ในการศึกษาก่อนหน้านี้ คณะผู้วิจัยได้พัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence, AI) สำหรับการตรวจหาก้อนในตับระหว่างการทำอัลตราซาวด์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อทดสอบว่ะระบบ AI ดังกล่าวสามารถช่วยให้บุคลากรที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญตรวจพบก้อนในตับมากขึ้น ในระหว่างการทำอัลตราซาวด์ หรือไม่ ระเบียบวิธีการวิจัย: การศึกษาวิจัยนี้เป็นการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (randomized controlled study) ระบบ AI ดังกล่าวถูกนำไปใช้ช่วยผู้ทำอัลตราซาวด์ทั้งที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญและเป็นผู้เชี่ยวชาญ ผู้ป่วยที่มีและไม่มีก้อนในตับถูกเชิญให้เข้าร่วมในงานวิจัยอย่างสมัครใจ โดยผู้ป่วยแต่ละรายถูกทำอัลตราซาวด์สองครั้ง โดยมีและไม่มีระบบ AI ช่วยผู้ทำอัลตราซาวด์ อัตราการตรวจพบก้อนในตับ (detection rate) และอัตราการตรวจพบบวกลวง (false positives) ถูกเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่มีและไม่มีระบบ AI ช่วย การทดสอบ McNemar’s test ถูกใช้ในการหาความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของอัตราการตรวจพบก้อนในตับ ระหว่างกลุ่มที่มีและไม่มีระบบ AI ช่วย ผลการศึกษา: ผู้ป่วยจำนวน 260 ราย ซึ่งมีก้อนในตับ 271 ก้อน ถูกทำอัลตราซาวด์โดยบุคลากรที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ป่วยจำนวน 244 ราย ซึ่งมีก้อนในตับ 240 ก้อน ถูกทำอัลตราซาวด์โดยผู้เชี่ยวชาญ ในกลุ่มผู้ทำอัลตราซาวด์ที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ อัตราการตรวจพบก้อนในตับในกลุ่มที่มี AI ช่วย (36.9%) สูงกว่ากลุ่มที่ไม่มี AI ช่วย (21.4%) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Tiyarattanachai, Thodsawit, "Artificial intelligence assisting physicians in detection of focal liver lesions from real-time ultrasonography" (2022). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 11331.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/11331