•  
  •  
 

Manusya, Journal of Humanities

Publication Date

2020-01-01

Abstract

Arundhati Roy's The Ministry of Utmost Happiness and Trace Peterson's "After Before and After" have been studied in several aspects related to transgender issues. The pre-sentation of transgender people, especially the transgender protagonist in The Ministry of Utmost Happiness, has been criticized as a formulaic depiction with little portrayal of their struggles and triumphs. At the same time, the transgender protagonist is viewed positively as an integral force in the novel. The poem "After Before and After" has been praised for its creative portrayal of transgender people. A study of transgen-der issues in relation to desire and connection helps to show that both texts offer more possibilities of liberation towards the state of "becoming." This study applies Gilles De-leuze and Felix Guattari's theory of schizoanalysis to explore transgender people's lines of flight, rhizomatic movements and transversal connections towards the state of de-territorialization in India and the US.(ขบวนการเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่เดิมของกลุ่มคนข้ามเพศในเรื่องThe Ministry of Utmost HappinessของArundhati Royและ"After Before and After"ของ Trace Petersonงานวิจัยในอดีตที่ศึกษานวนิยายเรื่องThe Ministry of Utmost Happinessของ Arundhati Roy และบทกวี "After Before and After" ของ Trace Peterson ได้แสดงผลการวิจัยหลายแง่มุมที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มคนข้ามเพศ การนําเสนอประเด็นกลุ่มคนข้ามเพศโดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวละครเอกซึ่งเป็นคนข้ามเพศในเรื่องThe Ministry of Utmost Happiness ถูกวิจารณ์ในแง่ลบว่าเป็นการวาดภาพที่มีรูปแบบตายตัวซึ่งแทบไม่มีการพรรณนาถึงการดิ้นรนต่อสู้และชัยชนะ ในขณะเดียวกันตัวละครเอกซึ่งเป็นคนข้ามเพศนี้ก็ได้รับการแสดงความคิดเห็นในเชิงบวกว่าเป็นพลังที่สํา าคัญของนวนิยายเรื่องนี้ ส่วนบทกวี "After Before and After" ได้รับการชื่นชมว่าเขียนภาพกลุ่มคนข้ามเพศอย่างสร้างสรรค์ การศึกษาประเด็นคนข้ามเพศร่วมกับแง่มุมเรื่องความปรารถนาและความเชื่อมต่อสัมพันธ์ช่วยให้เห็นว่าตัวบททั้งสองเรื่องนําไปสู่ความเป็นไปได้ของการปลดปล่อยให้เป็นอิสระสู่สภาวะของ "การกําลังจะเกิด หรือการกําลังจะเป็น" ของสรรพสิ่ง งานวิจัยนี้ประยุกต์ทฤษฎีการวิเคราะห์จิตเภทของ Gilles Deleuze และ Felix Guattari เพื่อศึกษาเส้นที่ตัดขนบของสังคม การเคลื่อนที่แบบเชื่อมต่อในแนวราบ และการคิดแบบตัดข้ามสู่ภาวะของการสลายบรรดารหัสทางสังคมที่สลับซับซ้อน)

First Page

116

Last Page

126

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.