•  
  •  
 

Chulalongkorn University Dental Journal

Publication Date

1994-09-01

Abstract

The objective of this study was to develop the efficiency of root canal culture which has been used in the Faculty of Dentistry, Mahidol University. The root canal culture was done in 3 steps for each tooth. The first step which is the conventional method, the sterile paper point was inserted into the canal in order to collect the persistent bacteria for culture in aerobic condition. The second step, 0.1 ml. of sterile normal saline solution was injected and drawn about 5 times in the root canal by using tuberculin syringe. Then 0.05 ml. of the solution was drawn back for culture. The third step, the canal was dried with sterile paper points which were inoculum for a culture. The culture in the second and the third steps were incubated in anaerobic condition. The result showed that the third step culture was likely more sensitive than the other two steps but not statistically significant. However, further study should be done to indicate which culture technique would reflect the microbiologic status of the root canal system. (การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงวิธีการตรวจเชื้อจากคลองรากฟันให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าวิธีเดิมที่ปฏิบัติอยู่ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยศึกษาการตรวจเชื้อจากคลองรากฟันซึ่งมีพยาธิสภาพที่ตรวจได้จากภาพถ่ายรังสีขนาดเล็กกว่าหรือเท่ากับ 4 มิลลิเมตรกลุ่มหนึ่ง และอีกกลุ่มหนึ่งพยาธิสภาพมีขนาดมากกว่า 4 มิลลิเมตร การตรวจหาเชื้อจะเก็บเชื้อจากคลองรากฟันที่มีการประเมินทางคลินิกแล้วว่าพร้อมที่จะทําการอุดได้ โดยแบ่งเป็น 3 วิธี วิธีที่ 1 เป็นวิธีที่ปฏิบัติอยู่คือ ใช้แท่งกระดาษซับปลอดเชื้อเก็บเชื้อในคลองรากแล้วนําไปเพาะเลี้ยงเชื้อในบรรยากาศปรกติ วิธีที่ 2 คือใช้กระบอกฉีดทูเบอร์คูลินดูดและฉีดน้ำเกลือปริมาตร 0.1 มิลลิลิตร ประมาณ 5 ครั้ง จากนั้นดูดน้ําเกลือกลับมา 0.05 มิลลิลิตร เพื่อนําไปเพาะเลี้ยงเชื้อ วิธีที่ 3 จะใช้แท่งกระดาษซับปลอดเชื้อซับน้ำเกลือที่เหลือในคลองรากจนแห้ง แล้วนําไปเพาะเลี้ยงเชื้อ วิธีที่ 2 และวิธีที่ 3 จะนํามาเพาะเลี้ยงเชื้อ ในบรรยากาศไร้ออกซิเจน จากการศึกษาพบว่าการตรวจเชื้อโดยวิธีที่ 3 มีแนวโน้มที่จะมีความไวสูงกว่าวิธีที่ 1 และ 2 แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงควรได้มีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อเป็นประโยชน์สําหรับการตรวจเชื้อในคลองรากฟันต่อไป(

DOI

10.58837/CHULA.CUDJ.17.3.5

First Page

261

Last Page

269

Included in

Dentistry Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.