•  
  •  
 

Chulalongkorn University Dental Journal

Publication Date

1994-01-01

Abstract

The purpose of this study is to evaluate the effects of two citric acid application techniques on cementum slabs in vitro. Eight extracted periodontally involved canine teeth were used. Two cementum slabs were obtained from the root of each tooth for each technique after they were scaled and root planed. Each slab was grooved to devided in to two parts, one for citric acid application and one for control. Citric acid (pH 1) was applied to sixteen cementum slabs for 3 minutes with two techniques: light application and rubbing techniques. All slabs were fixed in paraformaldehyde 4%, prepared for SEM examination. The surface characteristics of the treated cementum slabs were evaluated descriptively regarding the number of exposed dentinal tubules using student t-test analysis. Results demonstrated that the control group had smear layer covering surfaces with less opening dentinal tubules. The treated group were effective in removing smear layer and increased orifices and number of dentinal tubules. Rubbing technique can increase number of exposed dentinal tubules much more than light application one but not significance. Excessive pressure from rubbing moved smear layer partially to obstruct the exposed dentinal tubule, while applying with light application gave the clear surfaces. According to the results of this study, light application technique is more benificial than rubbing with pressure. (รายงานการวิจัยฉบับนี้ เป็นการศึกษาเปรียบเทียบผลการใช้กรดซิตริกทาเบา ๆ และถูบนผิวเคลือบรากฟันที่ถูกเกลารากฟันแล้ว ใช้ฟันเขี้ยวที่ถูกถอนเนื่องจากโรคปริทันต์อักเสบจํานวน 8 ซี่ นํามาขูดหินน้ำลาย และเกลาราก ฟันให้เรียบ เพื่อนํามาเตรียมแผ่นผิวเคลือบรากฟัน โดยฟัน 1 ซี่ เตรียมได้ 2 แผ่น แยกไว้กลุ่มละ 1 แผ่น ในแต่ละกลุ่มจึงมี 8 แผ่นนํามากรอแบ่งครึ่งตามแนวตั้งเพื่อใช้เป็นกลุ่มควบคุมของแต่ละแผ่น ใช้กรดซิตริก pH 1 ทา เบา ๆ ในกลุ่มที่ 1 และถูแรง ๆ ในกลุ่มที่ 2 ทางด้านขวาของร่องที่แบ่งไว้ทิ้งไว้ 3 นาทีล้างน้ำให้สะอาด แล้ว นําไปแช่ไว้ในน้ำยาพาราฟอร์มาดีชัย 4% จากนั้นนําแผ่นผิวเคลือบรากฟัน ไปเตรียมตัวอย่างสําหรับตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด ประเมินผลของกรดซิตริกต่อจํานวนรูเปิดของเดนดินัล ทิวบูล โดยนับจํานวนเฉลี่ยของเดนตินัล ทิวบูลจากภาพถ่ายกําลังขยาย 5,000 เท่า แล้ววิเคราะห์ผลความแตกต่างของกลุ่มต่าง ๆ โดยใช้สติวเดนท์ ที่เทส จากผลการทดลองพบว่าในกลุ่มควบคุมจะมี สเมียร์ เลเยอร์ เหลืออยู่มากและมีรูเปิดของ เดนตินัล ทิวบูล เล็กน้อย ส่วนในกลุ่มทดลองจะพบว่าสามารถกําจัด สเมียร์ เลเยอร์ ได้ และยังทําให้รูเปิดของ เดนดินัล ทิวบูล มีจํานวนเพิ่มมากขึ้น แม้ว่าการใช้วิธีการจะทําให้ได้จํานวนรูเปิดมากกว่าวิธีทาเบา ๆ แต่ไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ แรงที่เกิดจากการถูจะทําให้ สเมียร์ เลเยอร์ ไปอุดตันรูเปิดของ เดนดินัล ทิวบูล บางส่วนได้ ในขณะที่การทาเพียงเบา ๆ จะทําให้พื้นผิวสะอาด และมีรูเปิดของ เดนดินัล ทิวบูล กว้างกว่า จากผลการทดลองจึงสรุปได้ว่า ในการใช้กรดซิตริกโดยวิธีการทาเบา ๆ ให้ผลที่ดีกว่าการถู)

DOI

10.58837/CHULA.CUDJ.17.1.2

First Page

11

Last Page

19

Included in

Dentistry Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.