•  
  •  
 

Chulalongkorn University Dental Journal

Publication Date

1993-09-01

Abstract

Previous studies have shown that there is some differences in caries status in various part of Thailand. The objectives of this study were to investigate the caries status and the missing tooth replacement in patients attending the southern hospitals. The study was carried out in 800 people divided into 4 aged groups: 12, 18, 35-54 and above 55 years. Equal number of each aged group were accidental sampling from dental patients in Hat Yai hospital, Songkhla hospital and Puttani hospital. The results showed that the means DMFT of each group were 5.67, 8.61, 12.00 and 18.68, respectively. Although the means MT of these groups were as high as 0.16, 0.94, 5.85 and 14.38. The means number of the tooth replacement per person were very low ie. 0, 0.11, 0.91 and 1.18 respectively. By comparing the number of the tooth replacement between anterior and posterior teeth using proportional test, it was found that the proportion of the tooth replacement and the tooth loss of the anterior teeth was significantly higher than that of the posterior teeth (p<0.05) except in the lower arch of the 55 group. This finding concluded that the oral health in this population was very poor and needed an adequate dental survices both in treatment and rehabilitation.(จากรายงานการศึกษาที่ผ่านมาแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของสภาวะโรคฟันผุในแต่ละพื้นที่ของประเทศ ไทย ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการศึกษานี้จึงต้องการทราบสภาวะโรคฟันผุและการใช้ฟันปลอมของผู้ป่วยที่ใช้บริการของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในภาคใต้ของประเทศไทย ประชากรกลุ่มตัวอย่างอายุ 12 ปี 18 ปี 35-54 ปีและ 55 ปีขึ้นไป จํานวน 800 คน ซึ่งสุ่มมาจากผู้ป่วยกลุ่มงานทันตกรรมในโรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลสงขลา และโรงพยาบาลปัตตานี กลุ่มอายุละ 200 คน ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุดของแต่ละกลุ่มเท่ากับ 5.67, 8.61, 12.00 และ 18.68 ต่อคน ตามลําดับ สําหรับค่าเฉลี่ยของฟันที่ถอนของแต่ละกลุ่มแม้จะสูงถึง 0.16, 0.94, 5.85 และ 14.38 ที่ต่อคน แต่ค่าเฉลี่ยของจํานวนฟันปลอมที่ใส่ทดแทนค่อนข้างต่ำมาเพียง 0, 0.11, 0.91 และ 1.18 ต่อคน ตามลําดับเท่านั้น จากการเปรียบเทียบการใส่ฟันปลอมระหว่างบริเวณฟันหน้า และฟันหลังโดยการทดสอบสัดส่วน พบว่าสัดส่วน ของจํานวนฟันปลอมที่ใส่ต่อฟันที่ถอนไปของฟันหน้าสูงกว่าฟันหลังอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ยกเว้นใน บริเวณขากรรไกรล่างของกลุ่มอายุ 55 ปีขึ้นไปเท่านั้น สรุปได้ว่าประชาชนกลุ่มนี้มีปัญหาด้านสุขภาพในช่องปากสูงมาก และมีความต้องการบริการทันตกรรมทั้งด้านการรักษา และฟื้นฟูสภาพโดยการใส่ฟันปลอมมากด้วย)

DOI

10.58837/CHULA.CUDJ.16.3.5

First Page

203

Last Page

211

Included in

Dentistry Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.